โครงการพัฒนาระบบประเมินความสมบูรณ์ของพืช (Crop Health Analysis)

March 20, 2019

Customer

Geo-Informatics and Space Technology Development Agency
New Project 25

การศึกษาจะทำการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลเชิงบรรยาย ประกอบด้วย ข้อมูลปริมาณฝน อุณหภูมิ พื้นที่ปลูกข้าวนาปี พื้นที่ชลประทาน ขอบเขตการปกครอง แหล่งน้ำ การใช้ที่ดิน ปริมาณคาร์บอน ปริมาณสารอาหาร ปริมาณน้ำกักเก็บ เพื่อนำเข้าสู่แบบจำลองทางสถิติ สำหรับการตรวจสอบความสัมพันธ์ของการปลูกข้าวในเขตน้ำฝนและชลประทานกับปัจจัยทางด้านกายภาพที่เหมาะสม จากนั้นทำการสร้างแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนและอุณหภูมิเพื่อดูผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อพื้นที่การปลูกข้าวในเขตน้ำฝน โดยการประมวลผลจะทำการเพื่อแบ่งเป็นเขตพื้นที่ตามระดับของผลกระทบที่เกิดขึ้นซึ่งได้จากการใช้แบบจำลอง

Other Projects

AMPHAWA EXPLORER WEB GIS
AMPHAWA EXPLORER WEB GIS NOW LIVE The Amphawa Explorer web mapping application is now
Read more.
APPLING GIS FOR SMART CITY WORKSHOP
เนื่องด้วย  ศูนย์วิศวกรรมสารสนเทศภูมิศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ บริษัท อีเอสอาร์ไอ (ประเทศไทย) จำกัด มีความประสงค์จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กับงานด้านการพัฒนาเมือง (Smart
Read more.
A spatial model for site selection analysis for electric vehicle DC fast charge infrastructure in Thailand.
Customer The Energy Policy and Planning Office (EPPO)   การหาตำแหน่งที่ตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้าแบบเร็วที่เหมาะสม ด้วยการวิเคราะห์จากปัจจัยความต้องการของสถานีอัดประจุไฟฟ้ากระแสตรงแบบเร่งด่วน (DC Fast Charging
Read more.
Knowledge management for developing urban innovation District
Customer National Innovation Agency (Public Organization) (NIA) การพัฒนาพื้นที่ไปสู่ย่านนวัตกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่จึงมีความแตกต่างกัน เนื่องจากลักษณะทางกายภาพ สังคมและวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่จะมีความเฉพาะ ทำให้ต้องอาศัยข้อมูลมาทำการวิเคราะห์เพื่อพัฒนาเป็นแผนแม่บทของการพัฒนาพื้นที่แม่นยำและถูกต้อง ดังนั้นการเข้าใจบริบทของพื้นที่จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลที่ครอบคลุมและครบถ้วนเพื่อช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับพัฒนาเป็นแผนแม่บทของย่านนวัตกรรมที่สนใจ ดังนั้นการนำเทคโนโลยีเชิงพื้นที่ ทั้งระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
Read more.