Knowledge management for developing urban innovation District

March 19, 2019

Customer

National Innovation Agency (Public Organization) (NIA)
New Project 18

การพัฒนาพื้นที่ไปสู่ย่านนวัตกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่จึงมีความแตกต่างกัน เนื่องจากลักษณะทางกายภาพ สังคมและวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่จะมีความเฉพาะ ทำให้ต้องอาศัยข้อมูลมาทำการวิเคราะห์เพื่อพัฒนาเป็นแผนแม่บทของการพัฒนาพื้นที่แม่นยำและถูกต้อง ดังนั้นการเข้าใจบริบทของพื้นที่จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลที่ครอบคลุมและครบถ้วนเพื่อช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับพัฒนาเป็นแผนแม่บทของย่านนวัตกรรมที่สนใจ ดังนั้นการนำเทคโนโลยีเชิงพื้นที่ ทั้งระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งช่วยในการจัดทำ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลทั้งในส่วนของข้อมูลเชิงบรรยายและข้อมูลเชิงพื้นที่ ร่วมกับเครื่องมือระบุตำแหน่งบนพื้นโลก สำหรับการระบุตำแหน่งที่ตั้งได้อย่างแม่นยำ และการรับรู้ระยะไกล ตัวอย่างเช่นภาพถ่ายจากดาวเทียม  จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการช่วยสนับสนุนการเข้าใจบริบทของพื้นที่ได้เป็นอย่างดี

Other Projects

CPE 476/483/671 – ALGORITHMS AND ARCHITECTURES FOR GEOINFORMATICS
Instructor Dr. Sally E. Goldin and Mr. Kurt T. Rudahl Department Computer Engineering Student
Read more.
APPLING GIS FOR SMART CITY WORKSHOP
เนื่องด้วย  ศูนย์วิศวกรรมสารสนเทศภูมิศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ บริษัท อีเอสอาร์ไอ (ประเทศไทย) จำกัด มีความประสงค์จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กับงานด้านการพัฒนาเมือง (Smart
Read more.
GIS Health Workshop @ Khon Kaen University
Date: 29-30  March 2018 Participant: 100 people Venue Khon Kaen University GeoS4S Module: Geo-application Development & GIS for
Read more.
FIRST ANNUAL KMUTT GEOSPATIAL ENGINEERING SEMINAR
What: An opportunity for faculty members and researchers working with geospatial data or problems
Read more.