Knowledge management for developing urban innovation District

March 19, 2019

Customer

National Innovation Agency (Public Organization) (NIA)
New Project 18

การพัฒนาพื้นที่ไปสู่ย่านนวัตกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่จึงมีความแตกต่างกัน เนื่องจากลักษณะทางกายภาพ สังคมและวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่จะมีความเฉพาะ ทำให้ต้องอาศัยข้อมูลมาทำการวิเคราะห์เพื่อพัฒนาเป็นแผนแม่บทของการพัฒนาพื้นที่แม่นยำและถูกต้อง ดังนั้นการเข้าใจบริบทของพื้นที่จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลที่ครอบคลุมและครบถ้วนเพื่อช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับพัฒนาเป็นแผนแม่บทของย่านนวัตกรรมที่สนใจ ดังนั้นการนำเทคโนโลยีเชิงพื้นที่ ทั้งระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งช่วยในการจัดทำ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลทั้งในส่วนของข้อมูลเชิงบรรยายและข้อมูลเชิงพื้นที่ ร่วมกับเครื่องมือระบุตำแหน่งบนพื้นโลก สำหรับการระบุตำแหน่งที่ตั้งได้อย่างแม่นยำ และการรับรู้ระยะไกล ตัวอย่างเช่นภาพถ่ายจากดาวเทียม  จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการช่วยสนับสนุนการเข้าใจบริบทของพื้นที่ได้เป็นอย่างดี

Other Projects

Nodes of Excellence in (SEA) Universities through Spatial Data NEXUS
Customer European Union โครงการ Nodes of Excellence in (SEA) Universities through Spatial Data NEXUS เป็นอีกโครงการหนึ่งที่ทางศูนย์ฯ
Read more.
Mapping Regional Land Cover for Sustainable Rice Cultivation Using Geospatial Techniques and Satellite Data
Customer National Research Council of Thailand (NRCT)   การศึกษาจะทำการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลเชิงบรรยาย ประกอบด้วย ข้อมูลปริมาณฝน อุณหภูมิ
Read more.
CPE 476/483/671 – ALGORITHMS AND ARCHITECTURES FOR GEOINFORMATICS
Instructor Dr. Sally E. Goldin and Mr. Kurt T. Rudahl Department Computer Engineering Student
Read more.
GIS HEALTH WORKSHOP ON 15 FEBRUARY AND 1 MARCH 2017
Read more.